ขออย.ผลิตภัณฑ์ที่มีกัญชง กัญชา เป็นส่วนประกอบ

   

กัญชา กัญชง นำไปขออนุญาตผลิต ผลิตภัณฑ์สุขภาพอะไรได้บ้าง

ช่อดอก ยาแผนปัจจุบัน ตำรับยาแผนไทย ยาจากสมุนไพร

สารสกัด CBD ที่มี THC ไม่เกิน 0.2% ยาแผนปัจจุบัน ยาจากสมุนไพร เวชสำอางสมุนไพร

อาหาร เช่น เครื่องดื่ม ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร ยกเว้น อาหารสำหรับการก

เครื่องสำอางหลากหลายชนิด ยกเว้น ผลิตภัณฑ์สำหรับใช้ในช่องปาก

และผลิตภัณฑ์สำหรับจุดซ่อนเร้น ผลิตภัณฑ์ในรูปแบบซอร์ฟเจลแคปซูล ไม่เกิน 0.001%

เมล็ดกัญชง น้ำมันจากเมล็ดกัญชง สารสกัดจากเมล็ดกัญชง อาหาร เช่น ขนมอบ ขนมขบเคี้ยว
เครื่องดื่มธัญชาติ 
น้ำมันสำหรับบริโภค ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร

เครื่องสำอางหลากหลายชนิด เช่น ผลิตภัณฑ์ใช้แล้วล้างออก

ใบจริง / ใบพัด ตำรับยาแผนไทย ยาจากสมุนไพร ซาสมุนไพร เวชสำอางสมุนไพร อาหาร เช่น ขนมอบ ขนมขบเคี้ยว่ อาหารจานหลัก
เครื่องปรุงรส ยกเว้น อาหารสำหรับทารก

เครื่องสำอาง เช่น ผลิตภัณฑ์สำหรับขัด หรือ ทำความสะอาด ผลิตภัณฑ์ใช้แล้วล้างออก

เปลือก ลำต้น เส้นใย กิ่งก้าน ราก ตำรับยาแผนไทย ยาจากสมุนไพร เวชสำอางสมุนไพร

เครื่องสำอาง เช่น ผลิตภัณฑ์ใช้สำหรับ ขัด หรือ ทำความสะอาด ผลิตภัณฑ์ใช้แล้วล้างออก

เมล็ดกัญชง น้ำมันจากเมล็ดกัญชง หรือโปรตีนจากเมล็ดกัญชง นำมาเป็นส่วนประกอบของผลิตภัณฑ์อาหารอะไรได้บ้าง

เมล็ดกัญชง หรือ โปรตีนจากเมล็ดกัญชง

      1. ผลิตภัณฑ์ธัญชาติสำหรับอาหารเช้า (Cereals)

      2. ผลิตภัณฑ์ขนมอบชนิดไม่หวาน

      3. ผลิตภัณฑ์ขนมอบชนิดหวาน

      4. ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร (Food supplements)

      5. เครื่องดื่มจากธัญชาติ (Cereal and grain beverages)

ยกเว้น ชา กาแฟ ชาสมุนไพร

      6. ขนมขบเคี้ยวที่มีมันฝรั่ง ธัญชาติ หรือแป้งเป็นส่วนประกอบหลัก

      7. ขนมขบเคี้ยวที่มีถั่วหรือเมล็ดพืช ที่ผ่านกระบวนการ

แปรรูปและแต่งกลิ่นรส เป็นส่วนประกอบหลัก

น้ำมันจากเมล็ดกัญชง

      1.น้ำมันจากเมล็ดกัญชง ใช้บริโภคโดยตรง

      2.ผลิตภัณฑ์อิมัลชันประเภทน้ำในน้ำมัน สำหรับใช้ทาหรือป้ายหรือใช้เป็นวัตถุดิบ

      3.สลัดและผลิตภัณฑ์ทาแซนวิช

      4.ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร -Oil supplement

ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของเมล็ดกัญชง น้ำมันจากเมล็ดภัญชง หรือ โปรตีนจากเมล็ดกัญชงต้องมีคุณภาพมาตรฐาน และมีเงื่อนไขการผลิต

     ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร (Food supplements) ที่มีส่วนประกอบของ น้ำมันจากเมล็ดกัญชงหรือโปรตีนจากเมล็ดกัญชง 

            วัตถุประสงค์ในการขออนุญาตปลูกกัญชง

      1. เพื่อประโยชน์ตามภารกิจของหน่วยงานรัฐ 

      2. เพื่อประโยชน์จากเส้นใยตามประเพณี วัฒนธรรมหรือวิถีชีวิต และใช้ในครอบครัวเท่านั้น ทั้งนี้มีพื้นที่ปลูกได้
ครอบครัวละไม่เกินหนึ่งไร่

       3. เพื่อประโยชน์ในเชิงพาณิชย์หรืออุตสหกรรม

       4. เพื่อประโยชน์ในทางการแพทย์

       5. เพื่อประโยชน์ในการศึกษา วิเคราะห์ วิจัย หรือปรับปรุงพันธุ์

       6. เพื่อประโยชน์ในการผลิตเมล็ดพันธุ์รับรอง